บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ตุลาคม, 2017

เหล็กเส้นกลม เหล็กเส้นสร้างบ้าน

รูปภาพ
เหล็กเส้นกลม เหล็กเส้นสร้างบ้าน  อยากที่ทราบ เหล็กเส้น มีความสำคัญต่องานโครงสร้างก่อสร้างอย่างมาก เหล็กเส้นก่อสร้าง บางท่านอาจเรียก เหล็กเสริม ใช้สำหรับรับแรงงานคอนกรีตเสริมเหล็กและงานก่ออิฐทั่วไป เหล็กเส้นกลม คืออะไร เหล็กเส้นกลม คือ เหล็กเส้นสำหรับงานก่อสร้าง หรือเรียกสั้นๆว่า RB ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.28/2529,32/2532 ชั้นคุณภาพของเหล็กประเภทนี้คือ SR24 ที่เป็นที่รู้จักและนิยมใช้คือ เหล็ก บลส. บกส. TSC และ NS · RB6 (เหล็กเส้นกลม 2 หุน) ใช้สำหรับงานก่อสร้างที่รับแรงไม่มาก นิยมใช้ทำปอกเสา และปอกคาน · RB9 (เหล็กเส้นกลม 3 หุน) ใช้สำหรับงานก่อสร้างที่รับแรงไม่มาก คล้ายกับเหล็กเส้นกลม 2 หุน · RB12 (เหล็กเส้นกลม 4 หุน) ใช้สำหรับงานก่อสร้างทั่วไป แต่ไม่เน้นงานยึดเกาะ เพราะเหล็กมีลักษณะเรียบมน ทำให้ยึดเกาะปูนไม่ดีเท่าที่ควร ส่วนมากนิยมใช้กับงานกลึง เช่น งานกลึงหัวน๊อตต่างๆ · RB19 ใช้สำหรับงานทำถนน · RB25 ใช้ทำเป็นเหล็กสตัท เกรียวเร่ง สำหรับงานยึดโครงป้ายขนาดใหญ่สามารถรับแรง และน้ำหนักได้ดี ลักษณะการใช้งานเหล็กเส้นกลม · ใช้สำหรับงานก่อสร

ระบบการจ่ายน้ำภายในบ้านด้วยการใช้ท่อกลม/แป๊ปกลม

รูปภาพ
ระบบการจ่ายน้ำภายในบ้านด้วยการใช้ท่อกลม/แป๊ปกลม  ระบบการจ่ายน้ำภายในบ้านด้วยการใช้ท่อกลม/แป๊ปกลม  ระบบประปาภายในบ้านนั้นมีการใช้ ท่อกลม หรือแป็บกลม โดยมีส่วนสำคัญในการจ่ายน้ำที่สะอาดไปยังจุดที่ใช้งานต่าง ๆ ในปริมาณ และแรงดันที่เหมาะสม กับการใช้งาน ในกรณีที่บางบ้านจำเป็นต้องปั๊มน้ำจากบ่อบาดาลขึ้นสู่ถังเก็บ จากถังเก็บปั๊มเข้าสู่อาคาร แต่ถ้าถังเก็บอยู่ในระดับสูง อาจใช้แรงโน้มถ่วงกระจายน้ำไปยังอาคารได้โดยไม่ต้องใช้การปั๊ม เรียกว่าระบบจ่ายน้ำ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. ระบบจ่ายน้ำขึ้น (UP FEED SYSTEM)   เป็นระบบจ่ายน้ำที่นิยมใช้ตามบ้านเรือนทั่วไป เหมาะกับอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 3 ชั้น เช่น บ้านพักอาศัยทั่วไป ไม่ต้องใช้ระบบปั๊ม คือ การจ่ายตรงจากท่อน้ำประปาหลัก เป็นการต่อท่อเข้ากับท่อน้ำในบ้านโดยตรง ดังนี้ – ใช้ปั๊มดูดจากถังเก็บน้ำบนหรือใต้พื้นดิน ภายในถังจะเป็นน้ำจากท่อประปาหรือน้ำ บาดาล จากนั้นปั๊มน้ำเข้าสู่ท่อจ่ายน้ำภายในอาคาร – ใช้ถังอัดความดัน (PRESSURE TANK) ทำหน้าที่คล้ายปั๊ม เมื่อเปิดน้ำใช้ ถัง

ไอเดียสร้างรั้วและประตูบ้านด้วยท่อแบน/แป๊บแบน

รูปภาพ
ไอเดียสร้างรั้วและประตูบ้านด้วยท่อแบน/แป๊บแบน รั้วและประตูหน้าบ้านเป็นส่วนแรกที่ผู้คนได้เห็นก่อนที่จะเข้าสู่ความสวยงามของตัวบ้านหรือภายใน ซึ่งจะสวยหรือไม่ ประตูบ้านก็มีส่วนสำคัญ นอกจากมีไว้เพื่อความปลอดภัย มิดชิดแล้ว ดีไซน์ที่สวย วัสดุที่มีคุณภาพ ก็เป็นอีกปัจจัยในการเลือกประตูมาติดที่บ้าน แน่นอนว่าเจ้าของบ้านจะต้องให้ความสำคัญกันมากสักหน่อย วันนี้เรามีไอเดีย รั้วและประตูหน้าบ้าน 6 แบบมาให้ดูกันค่ะ ไอเดียในการสร้างด้วยท่อแบนหรือแป็บเบนมีอะไรบ้าง 1. บานสไลด์ยาว เหมาะกับประตูหน้าบ้านทาวน์เฮาส์ เพราะสามารถเลื่อนซ้อนกันเพื่อประหยัดพื้นที่ได้ โดยใช้เหล็กกล่อง(ท่อแบน/แป๊ปแบน)ขนาด 2 x 6 นิ้วทำเป็นเฟรมบานเลื่อน จากนั้นใช้ไม้กระดานหน้าตัด 4 นิ้ว ตีเป็นแนวตั้งยาวตลอดแนว 2. บานโปร่ง ดีไซน์ประตูหน้าบ้านให้เข้ากับรั้วไม้ข้างบ้าน ด้วยการนำโครงไม้ขนาด 2 x 4 นิ้ว มาเชื่อมเป็น กรอบบานเปิดแบบคู่ที่มีขนาด 1.50 x 2 เมตร จากนั้นเชื่อมเหล็กเหลี่ยมแบบตัน ขนาด 1 x 1 เซนติเมตร ให้เป็นตารางขนาด 30 x 60 เซนติเมตร เสร็จแล้วนำแผ่นไม้หนา 5 มิลลิเมตร ขนาด 60 x 60 เซนติเมตร มาติดลงบ

ขั้นตอนการผลิตและประเภทของไวร์เมช

รูปภาพ
ขั้นตอนการผลิตและประเภทของไวร์เมช ในสมัยก่อนการเทคอนกรีต ที่ต้องการให้รับแรงได้มากขึ้น นิยมใช้เหล็กเส้นนำมาผูกต่อกันเป็นตะแกรงแต่วิธีการนี้ทำให้เสียเวลาและเสียปัจจัยต่างๆมากจึงเปลี่ยนมาใช้ ไวร์เมช หรือตะแกรงเหล็กสำเร็จรูปภาษาช่างอาจจะเรียก เป็นชื่อต่างๆเช่น เหล็กไวร์เมท ไวเมทเทปูน ตะแกรงวายเมท ผลิตมาจากลวดเหล็กรีด เย็นใช้เส้นลวดขนาดต่างๆตั้งแต่3-6มิลลิเมตรอาร์คเชื่อมติดกันด้วยไฟฟ้าสามารถทำให้จุดทุกๆจุด หลอมละลายเชื่อมเป็นเนื้อเดียวกันได้สามารถม้วนหรือตัดเป็นแผง ได้ จึงสามารถขนส่งไปได้อย่างสะดวกง่ายดายไม่ยุ่งยากและช้แทนการผูกเหล็กเส้นธรรมดาทั่วไปได้เป็นอย่างดี ช่วยให้ประหยัดทั้งเวลาทำงานและค่าแรงงาน ขั้นตอนการผลิต ตะแกรงเหล็กไวร์เมช 1. คัดเลือกเหล็กเส้นสำหรับทำไวร์เมช -> การคัดเลือกเหล็กเส้นสำหรับทำไวร์เมช คือมีทั้งเหล็กเส้นกลม และเหล็กเส้นข้ออ้อย ขนาด 3-6 มิลลิเมตร ทั้งนี้ขึ้นอยู่เกี่ยวกับงานนั้น และความต้องการใช้งาน 2. ขั้นตอนการผลิตด้วยอาร์คเชื่อมติดกันด้วยไฟฟ้า->ในขั้นตอนนี้จะใช้การอาร์คติดเส้นลวดให้ติดกันเป็นตะแกรงไวร์เมช 3. การผลิตเสร็จสมบูรณ์ -> ได้ตะแกรงไวร